1, ผลผลิตเนื้อยางแห้งสูงมาก
1.1 RRIT 251 ให้ผลผลิตเนื้อยอย่างแห้งเฉลี่ย 9 ปีกรีด 467.2 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี สูงกว่าพันธุ์ RRIM 600 ซึ่งให้ผลผลิต218.1 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี คิดเป็นร้อยละ 59.4
1.2 RRIT 251 ให้ผลผลิตเนื้อยางแห้ง เฉลี่ย 10 ปีกรีด 474.3 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี สูงกว่าพันธุ์ GT 1 ซึ่งให้ผลผลิต 218.1 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี คิดเป็นร้อยละ 117.4
2. การเจริญเติบโต ระยะก่อนเปิดกรีดดี RRIT 251 เมื่ออายุ 7 ปี มีขนาดลำต้นเฉลี่ย 51.6 เซนติเมตร ขนาดใหญ่กว่าพันธุ์RRIM 600 ที่มีขนาดลำต้นเฉลี่ย 74.2 เซนติเมตร และใกล้เคียงกับพันธุ์ GT 1 ที่มีขนาดลำต้นเฉลี่ย 50.1 เซนติเมตร
3. จำนวนต้นเปิดกรีดมาก RRIT 251 มีขนาดลำต้นสม่ำเสมอดีมาก จึงมีจำนวนต้นเปิดกรีดมากคิดเป็นร้อยละ 78.0 ของแปลงมากกว่าพันธุ์ RRIM 600 และ GT 1 ร้อยละ 66.3 และ 13.2 ตามลำดับ
4. ความหนาของเปลือก RRIT 251 เมื่ออายุ 9 ปี มีความหนาเปลือกเฉลี่ย 5.8 มิลลิเมตร หนากว่าพันธุ์RRIM 600 และ GT 1 ร้อยละ 13.7 และ 1.7 ตามลำดับ และเมื่ออายุ 20 ปี ความหนาเปลือกเพิ่มเป็น 9.8 มิลลิเมตร หนากว่าพันธุ์RRIM 600 และ GT 1 ถึงร้อยละ 15.2 และ 11.3 ตามลำดับ
5. จำนวนท่อน้ำยางมาก RRIT 251 เมื่ออายุ 9 ปี มีจำนวนวงท่อน้ำยาง 10.5 วง มากกว่า พันธุ์ RRIM 600 และ GT 1 ร้อยละ23.5 และ 10.5 ตามลำดับ และ เมื่ออายุ 20 ปี มีจำนวนวงท่อน้ำยาง 39.4 วง มากกว่าพันธุ์ RRIM 600 และ GT 1 ร้อยละ 23.1 และ 86.7 ตามลำดับ
6. การต้านทานโรค ยางพันธุ์RRIT251ต้านทานโรก ใบร่วงที่เกิดจากเชื้อไฟทอปโทรา ออยเตียม และคอลเลโทตริกัม ดีกว่าพันธุ์ RRIM 600 และ GT 1
ข้อแนะนำ
- พันธุ์ RRIT1 251 มีขนาดทรงพุ่มใหญ่ และการแตกกิ่งไม่สมดุล ปลูกได้พื้นที่ราบทั่วไป ที่ราบลุ่ม ไม่แนะนำปลูกพื้นที่ลาดชัน 30 องศาขึ้นไป
- ระยะการปลูก 3.5x6 , 4x5 , 3x7 เมตร
- ควรปลูกใกล้แหล่งน้ำ ลำธาร คลอง หนอง บึง
- แบ่งหน้ากรีดครึ่งลำต้น กรีดวันเว้นวัน
- การบำรุงรักษาใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 30-5-18 หรือ 25-7-18 หรือสูตรใกล้เคียง แบ่งใส่ต้นละ 500กรัม 3ครั้ง/ปี สลับการใส่ปุ๋ยหมัก หรืออินทรีย์ชีวภาพ 3 กิโลกรัม/ต้น/ปี
- ระยะการปลูก 3.5x6 , 4x5 , 3x7 เมตร
- ควรปลูกใกล้แหล่งน้ำ ลำธาร คลอง หนอง บึง
- แบ่งหน้ากรีดครึ่งลำต้น กรีดวันเว้นวัน
- การบำรุงรักษาใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 30-5-18 หรือ 25-7-18 หรือสูตรใกล้เคียง แบ่งใส่ต้นละ 500กรัม 3ครั้ง/ปี สลับการใส่ปุ๋ยหมัก หรืออินทรีย์ชีวภาพ 3 กิโลกรัม/ต้น/ปี
สถาบันวิจัยยาง 251 (RRIT 251)
|
|||||
แม่ x พ่อ
|
คัดเลือกจากต้นกล้ายางแปลงเอกชนในจังหวัดสงลา
|
||||
แหล่งกำเนิด
|
ราชอาณาจักรไทย
|
||||
การเจริญเติบโต
|
การเจริญเติบโตก่อนการกรีดดีและระหว่างกรีดเจริญเติบโตปานกลาง
|
||||
ความสม่ำเสมอของขนาดลำต้นทั้งแปลงดี
ทำให้จำนวนต้นเปิดกรีดมาด
|
|||||
การแตกกิ่งและทรงพุ่ม
|
แตกกิ่งมาทั้งขนาดใหญ่และขนาดกลาง
การแตกกิ่งไม่สมดุล
|
||||
พุ่มใบทึบ
ทรงพุ่มมีขนาดใหญ่เป็นครึ่งวงกลม
|
|||||
การผลัดใบ
|
ทยอยพลัดใบ
|
||||
ความหนาเปลือก
|
เปลือกเดิมและเปลือกงอกใหม่หนาปานกลาง
|
||||
ระบบกรีด
|
ครึ่งลำต้น วันเว้นวัน
|
||||
ผลผลิตเนื้อยางแห้ง
|
ในพื้นที่ปลูกยางเดิม
ให้ผลผลิต 10 ปีกรีดเฉลี่ย 462 กิโลกรัม
|
||||
ต่อไร่ต่อปี
สูงกว่าพันธุ์ RRIM 600 ร้อยละ 57
|
|||||
ในพื้นที่ปลูกยางใหม่
ให้ผลผลิต 8 ปีกรีดเฉลี่ย
343 กิโลกรัม
|
|||||
ต่อไร่ต่อปี
สูงกว่าพันธุ์ RRIM 600 ร้อยละ 59
|
|||||
ความต้านทานโรค
|
|||||
ใบร่วงไฟทอฟธอรา
|
ต้านทานปานกลาง
|
||||
ราแป้ง
|
ต้านทานปานกลาง
|
||||
ใบจุดคอลเลโทตริกัม
|
ต้านทานปานกลาง
|
||||
ใบจุดก้างปลา
|
ค่อนข้างต้านทาน
|
||||
เส้นดำ
|
ค่อนข้างต้านทาน
|
||||
ราสีชมพู
|
ต้านทานปานกลาง
|
||||
อาการเปลือกแห้ง
|
มีจำนวนต้นยางแสดงอาการเปลือกแห้งน้อย
|
||||
ความต้านทานลม
|
ต้านทานปานกลาง
|
||||
ข้อจำกัดพื้นที่ปลูก
|
ไม่แนะนำให้ปลูกในพื้นที่ลาดชันพื้นที่ที่มีหน้าดินตื้น
|
||||
และพื้นที่ที่มีระดับน้ำใต้ดินสูง
|
|||||
ข้อสังเกต/ข้อแนะนำ
|
ในพื้นที่ที่มีความชื้นสูง
ยางพันธุ์นี้ในระยะยางอ่อน
|
||||
จะอ่อนแอมากต่อโรคใบจุดคอลเลโทติกัน
|
|||||
ไม่แนะนำให้กรีดถี่มากกว่าวันเว้นวัน
เพราะต้นยาง
|
|||||
จะแสดงอาการเปลือกแห้งมาก
เนื่องจากเป็นพันธุ์
|
|||||
ที่มีพุ่มที่มีทรงพุ่มใหญ่
ไม่ควรปลูกด้วยระยะปลูก
|
|||||
น้อยกว่า3 x 7 เมตร
|
อ้างอิงข้อมูล:
เทคนิคการขายพันธุ์ยางพาราด้วยตนเอง.พริ้ม ศรีหานาม . 15 หน้า
ทางแปลง บุรีรัมย์ยางพารา ได้เปิดรับจองพันธุ์ยาง ปี พ.ศ.นี้แล้ว
ถ้าท่านจองตั้งแต่ตอนนี้ ท่านจะได้
พันธุ์ยางครบและตรงตามพันธุ์แน่นอน
พันธุ์ยางพาราบางพ้นธุ์เราเพาะชำ เท่าจำนวน
ที่ท่านสั่งจองเท่านั้น
เปิดรับสั่งจอง และสั่งซื้อพันธุ์ยางพารา
ถ้าท่านจองตั้งแต่ตอนนี้ ท่านจะได้
พันธุ์ยางครบและตรงตามพันธุ์แน่นอน
พันธุ์ยางพาราบางพ้นธุ์เราเพาะชำ เท่าจำนวน
ที่ท่านสั่งจองเท่านั้น
เปิดรับสั่งจอง และสั่งซื้อพันธุ์ยางพารา
เพื่อได้รับกล้าไปปลูก ในฤดูฝนที่จะมาถึง ได้ที่ จังหวัดบุรีรัมย์
569 ม. 15 ถ.แคนดง-สตึก ต.แคนดง อ.แคนดง จ.บุรีรัมย์
โทร. 081- 2669495, 081-9677950, 089-9462954
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น